Untitled Document
 
 
 
 
Untitled Document
Home
Current issue
Past issues
Topic collections
Search
e-journal Editor page

การวิเคราะห์ข้อมูลการจับคู่ในการศึกษาย้อนหลังโดยใช้ conditional logistic regression model

นิรันดร อินทรัตน์ 1, สมรัตน เลิศมหาฤทธิ์ 2




งานวิจัยเชิงวิเคราะห์ที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโรคที่ต้องการศึกษากับปัจจัยที่คาดว่าจะเป็นสาเหตุการเกิดโรค รูปแบบการวิจัยอย่างหนึ่งที่นิยมใช้คือ case-control study ซึ่งเริ่มต้นจาก case ที่มีอยู่ แล้ว สุ่มกลุ่มควบคุมมาวิเคราะห์เปรียบเทียบ ข้อมูลที่จะศึกษาเป็นข้อมูลย้อนหลัง ซึ่งเหมาะสำหรับการศึกษาโรคที่มีโอกาสเกิดขึ้นน้อย นอกจากนั้นยังประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ในการวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยกับการเกิดโรคที่จะให้ผลสรุปที่ถูกต้อง ต้องมีการควบคุมปัจจัยกวนในช่วงการออกแบบการศึกษา การควบคุมปัจจัยกวนทำได้โดยการจับคู่ (match¬ing) ปัจจัยกวนที่ใช้ในการจับคู่ควรเป็นปัจจัยกวนที่มีอิทธิพลมาก การจับคู่คือการเลือกกลุ่มควบคุมเข้ามาในการศึกษา เพื่อให้มีลักษณะบางอย่างหรือหลายอย่างที่คาดว่าจะเป็นปัจจัยกวนให้เหมือนกับกลุ่ม case ซึ่งโดยหลักๆ มีอยู่สองชนิด คือ การจับคู่เป็นรายบุคคล (individual matching) คือ การเลือกกลุ่มควบคุมเข้ามาเป็นชุดข้อมูลกับ case ของแต่ละคน และการจับคู่เป็นรายกลุ่ม (group matching) คือการเลือกกลุ่มควบคุมโดยให้มีการกระจายของตัวแปรที่ต้องการจับคู่เหมือนกับกลุ่มผู้ป่วย(1) ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะการจับคู่เป็นรายบุคคลเท่านั้น เพราะมีการใช้มากใน hospitals-based research ในกรณีที่มี case จำนวนน้อยการจับคู่แบบ 1:1 จะได้ขนาดตัวอย่างเล็ก ทำให้อำนาจการทดสอบทางสถิติต่ำ การแก้ไขปัญหานี้ทำได้โดยการเพิ่มจำนวนกลุ่มควบคุมให้เป็น 2, 3 หรือ 4 ซึ่งจะช่วยให้ได้ขนาดตัวอย่างเพิ่มขึ้นทำให้อำนาจของการทดสอบทางสถิติมีมากขึ้น ดังต่อไปนี้ . . . Full text.
Untitled Document
Article Location
Volume 2 Number 1

Untitled Document
Article Option
       Abstract
       Fulltext
       PDF File
Untitled Document
 
ทำหน้าที่ ดึง Collection ที่เกี่ยวข้อง แสดง บทความ ตามที่ีมีใน collection ที่มีใน list Untitled Document
Another articles
in this topic collection

Sample size calculation for multiple linear regression: Testing Hypothesis and Estimation (การคำนวณขนาดตัวอย่างสำหรับงานวิจัยที่ใช้ตัวแบบการถดถอยพหุในการวิเคราะห์ข้อมูล:บนพื้นฐานการทดสอบสมมติฐานและการประมาณค่า)
 
Data analysis for multi-center study: ways to handle "center"? (แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลจากการวิจัยสหสถาบัน: จัดการอย่างไรกับตัวแปร "สถาบัน"?)
 
Post hoc Power Calculation is never justified. (การคำนวณ Power หลังจากผลการวิจัยออกมาแล้ว เป็นเรื่องไม่มีเหตุผลที่จะทำ)
 
ANALYSIS of 2x2 CROSSOVER DESIGN WITH CONTINUOUS DATA (ANALYSIS of 2x2 CROSSOVER DESIGN WITH CONTINUOUS DATA)
 
<More>
Untitled Document
 
This article is under
this collection.

Statistics
 
 
 
 
Copyright © 2006. Data Management & Biostatistics Journal.. All Rights Reserved
 
 
 
 

 


Warning: Unknown: Your script possibly relies on a session side-effect which existed until PHP 4.2.3. Please be advised that the session extension does not consider global variables as a source of data, unless register_globals is enabled. You can disable this functionality and this warning by setting session.bug_compat_42 or session.bug_compat_warn to off, respectively in Unknown on line 0