|
e-journal Editor page
การคำนวณขนาดตัวอย่าง
สำหรับงานวิจัยที่ใช้ตัวแบบการถดถอยพหุลอจีสติคในการวิเคราะห์ข้อมูล: กรณีตัวแปรอิสระที่สนใจเป็นตัวแปรทวินามและตัวแปรต่อเนื่อง
กรรณิการ์ ตฤณวุฒิพงษ์ 1, บัณฑิต ถิ่นคำรพ 2
|
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอตัวอย่างและการแทนค่าต่างๆ ในการคำนวณขนาดตัวอย่างสำหรับงานวิจัยที่ใช้ตัวแบบการวิเคราะห์ถดถอยลอจีสติค ซึ่งมีสูตรการคำนวณขนาดตัวอย่างที่มีความสลับซับซ้อน และยุ่งยากในการแทนค่าต่างๆ โดยได้นำเสนอการคำนวณขนาดตัวอย่างกรณีที่ตัวแปรอิสระมีเพียงตัวแปรเดียว (Simple Logistic Regression) โดยจะมีสูตรในการคำนวณขนาดตัวอย่าง 2 กรณี ได้แก่ กรณีที่ตัวแปรอิสระที่สนใจเป็นตัวแปรทวินาม (Dichotomous) และตัวแปรอิสระที่สนใจเป็นตัวแปรต่อเนื่อง (Continuous) ในส่วนของการวิเคราะห์ถดถอยพหุลอจีสติค (Multiple Logistic Regression) ซึ่งจะมีตัวแปรอิสระมากกว่า 1 ตัวแปร จะต้องมีการปรับแก้อิทธิพลของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระด้วยค่า (Variance Inflation Factor; จาก
VIF) โดยค่า VIFมีค่าเท่ากับ 1/ |
|
ขนาดตัวอย่างที่ได้จากการคำนวณกรณีที่มีตัวแปรอิสระ |
|
 |
| เพียง 1 ตัวแปร . . .
Full text.
|
|
|
|
|
|
Untitled Document
Article Location |
Volume 4 Number 1 |
|
Untitled Document
Untitled Document
ทำหน้าที่ ดึง Collection ที่เกี่ยวข้อง
แสดง บทความ ตามที่ีมีใน collection ที่มีใน list
Untitled Document
Another articles
in this topic collection
|
|
|
Untitled Document
This article is under
this collection.
|
|
|
|
|