Untitled Document
 
 
 
 
Untitled Document
Home
Current issue
Past issues
Topic collections
Search
e-journal Editor page

IS YATES CONTINUITY CORRECTION NECESSARY FOR CHI-SQUARE

จําเป็นหรือไม่….? ที่ไคสแควร์ ต้องใช้ค่าปรับแก้ความตอเนื่องของ Yates

Pongdech Sarakarn (พงษ์เดช สารการ) 1




การวิเคราะห์ไคสแควร์ในตารางการจรแบบ 2x2 ถูกนำมาใช้ค่อนข้างแพร่หลายในงานวิจัยทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยพบว่าในกรณีที่ความถี่คาดหวังน้อยกว่า 5 จะเลือกใช้ Fisher’s exact test แต่เมื่อความถี่คาดหวังในเซลล์มีค่าตั้งแต่ 5 ขึ้นไปจะมีการใช้สถิติทดสอบสองวิธีคือ วิธีที่ใช้ค่าปรับแก้ความต่อเนื่องของ Yates กับวิธีไม่ปรับค่าความต่อเนื่องของเพียร์สัน ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับเงื่อนไขการใช้สถิติทดสอบทั้งสองในเอกสารและหนังสือทางสถิติ มีหลายอย่าง อาทิเช่น(1- 4)
1.ใช้การปรับแก้ความต่อเนื่องของ Yates เมื่อพบว่า ความถี่คาดหวัง (expected frequency)บางกลุ่มมีค่าน้อยกว่า 5
2.ใช้การปรับแก้ความต่อเนื่องของYates เมื่อ 20 ≤ n ≤ 40 และความถี่คาดหวังทุกตัวมากกว่าหรือเท่ากับ 5
3.ใช้การปรับแก้ความต่อเนื่องของ Yates เมื่อมีความถี่คาดหวังในเซลล์ใดเซลล์หนึ่งอยู่ระหว่าง 5-10
4.ถ้าขนาดตัวอย่างมากกว่าหรือเท่ากับ 50 ไม่จำเป็นต้องปรับค่าไคสแควร์ของเพียร์สัน
ข้อเสนอแนะข้างต้นก่อให้เกิดความสับสนและข้อโต้แย้งอย่างมากในทางปฏิบัติเกี่ยวกับเหตุผลหรือความจำเป็นในการตัดสินใจเลือก หรือไม่เลือกใช้วิธีการใดวิธีการหนึ่ง บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายถึงข้อผิดพลาดและข้อจำกัดของการใช้การปรับแก้ความต่อเนื่องของ Yates ในการวิเคราะห์ข้อมูลในตารางการจรแบบ 2x2
การปรับแก้ความต่อเนื่องของ Yates เกิดจากแนวคิดการปรับค่าข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง ให้มีความต่อเนื่อง เมื่อถูกประมาณด้วยการแจกแจงแบบต่อเนื่อง นั่นคือ(5) การแจกแจงแบบไคสแควร์เป็นการแจกแจงแบบต่อเนื่อง ส่วนข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาเป็นความถี่ เมื่อนำการแจกแจงแบบไคสแควร์ไปประมาณค่าข้อมูลดังกล่าว หากข้อมูลมีขนาดใหญ่สามารถประมาณค่าได้อย่างใกล้เคียง โดยมีวิธีการคำนวณค่า ไคสแควร์จากสูตรของเพียร์สัน ดังนี้(6)

. . . Full text.
Untitled Document
Article Location
Volume 1 Number 1

Untitled Document
Article Option
       Abstract
       Fulltext
       PDF File
Untitled Document
 
ทำหน้าที่ ดึง Collection ที่เกี่ยวข้อง แสดง บทความ ตามที่ีมีใน collection ที่มีใน list Untitled Document
Another articles
in this topic collection

Sample size calculation for multiple linear regression: Testing Hypothesis and Estimation (การคำนวณขนาดตัวอย่างสำหรับงานวิจัยที่ใช้ตัวแบบการถดถอยพหุในการวิเคราะห์ข้อมูล:บนพื้นฐานการทดสอบสมมติฐานและการประมาณค่า)
 
Data analysis for multi-center study: ways to handle "center"? (แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลจากการวิจัยสหสถาบัน: จัดการอย่างไรกับตัวแปร "สถาบัน"?)
 
Post hoc Power Calculation is never justified. (การคำนวณ Power หลังจากผลการวิจัยออกมาแล้ว เป็นเรื่องไม่มีเหตุผลที่จะทำ)
 
ANALYSIS of 2x2 CROSSOVER DESIGN WITH CONTINUOUS DATA (ANALYSIS of 2x2 CROSSOVER DESIGN WITH CONTINUOUS DATA)
 
<More>
Untitled Document
 
This article is under
this collection.

Statistics
 
 
 
 
Copyright © 2006. Data Management & Biostatistics Journal.. All Rights Reserved
 
 
 
 

 


Warning: Unknown: Your script possibly relies on a session side-effect which existed until PHP 4.2.3. Please be advised that the session extension does not consider global variables as a source of data, unless register_globals is enabled. You can disable this functionality and this warning by setting session.bug_compat_42 or session.bug_compat_warn to off, respectively in Unknown on line 0